Category: เรื่องเล่าจากงานประจำ

เล่าเรื่องงานประจำของชาวสำนักหอสมุด

สิ่งสำคัญที่สุด การจัดทำคลังเอกสารดิจิทัล มหาวิทยาลัยนเรศวร (รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์) NU Intellectual Repository

การขออนุญาตเผยแพร่ผลงาน

วิธีการบันทึกข้อมูลบรรณานุกรมลงระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

แท็กสำคัญๆๆที่เราจะลงรายการบรรณานุกรม 1. 020 ISBN International Standard Book Number (เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ) 2. 100 ชื่อผู้แต่ง (Title) 3. 245 ชื่อเรื่อง (Author) 4. 246 ชื่อเรื่องอื่นๆ ที่ลงรายการในหมายเหตุ (Varying Form Title) 5. 250 ฉบับพิมพ์ (Edition Statement) 6.…

เคาน์เตอร์บริการ

หลังบ้านมีอะไร? บริการแจ้งหาไม่พบที่ชั้น/Book not Found บริการเสริมเพิ่มช่องให้ผู้ใช้บริการ กรณีหาหนังสือไม่พบที่ชั้น โดยการกรอกแบบฟอร์มบริการรับเรื่องรายการหาหนังสือไม่พบบนชั้นแบบออนไลน์ ผ่านหน้าเว็บ OPAC และระบบจะแจ้งเตือนไปยังเจ้าหน้าที่โดยอัตโนมัติ เจ้าหน้าที่จะดำเนินการหาหนังสือให้ ภายในระยะเวลา 2 ชั่วโมง และเจ้าหน้าที่จะดำเนินการแจ้งให้ผู้ใช้ทราบ ผู้ใช้บริการสามารถติดต่อรับหนังสือได้ที่ เคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 2 อาคารเรียนรู้ บริการ Books Not Found คือบริการค้นหาหนังสือที่ท่านหาไม่พบบนชั้นหนังสือ หากท่านค้นหาหนังสือจาก Web OPAC แล้วหนังสือมีสถานะเป็น Available…

การจัดทำโสตทัศนวัสดุจากระบบอนาล็อกให้เป็นระบบดิจิทัล

ปัจจุบันสื่อโสตทัศนวัสดุ ทุกประเภท ไม่เป็นที่นิยมเหมือนสมัยก่อน การจัดหาอุปกรณ์สำหรับเปิดอ่านเริ่มลำบากมากขึ้น และบางแผ่นที่ไม่ได้ใช้งานมานาน เริ่มจะเสื่อมสภาพ เพื่อไม่ให้สื่อโสตทัศนวัสดุที่กำลังจะหมดยุคไปตามกาลเวลา และพร้อมที่จะกลับมาใช้งานได้อีกครั้ง อย่างมีประสิทธิภาพในยุคปัจจุบัน นั้น จึงเป็นที่มาของ ” การเปลี่ยนผ่านจากอนาล็อก เข้าสู่ ดิจิทัล” การเสื่อมสภาพจะใช้เวลายาวนานกว่า ง่ายและสะดวกต่อการนำไปใช้งาน เพราะการจัดเก็บข้อมูลเป็นแบบไฟล์ดิจิทัล เพื่อตอบสนองการใช้ชีวิตในยุคดิจิทัลอย่างต่อเนื่องต่อไป

บริการออนไลน์ ในยุคโควิด..(ติด ไม่ติด)

ในช่วง 2 -3 ปีที่ผ่านมาโรคอุบัติใหม่อย่าง COVID-19 เข้ามามีส่วนให้ชีวิตประจำวัน ตลอดการทำงานของเราให้เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง ข้อดี คือ ทำให้เราได้ปรับตัว เรียนรู้ ได้อย่างรอบด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานของห้องสมุดที่ผ่านมามีการให้บริการในรูปแบบออนไลน์มาอย่างต่อเนื่อง แต่อาจยังไม่ครอบคลุม หรืออาจยังไม่ตรงจุด หรือสนองความต้องการกับผู้ใช้บริการทุกกลุ่มได้อย่างแท้จริง ในช่วงแรกนั้นสำนักหอสมุดได้มีการประชุม และระดมความคิดกันอย่างมาก เนื่องจากเป็นเรื่องใหม่ที่ทุกคนไม่เคยเจอมาก่อน โดยมีการปรับให้เข้ากับสถานการณ์นั้น ๆ จนทำให้เกิดบริการต่าง ๆ เพื่อนำมาสนับสนุนการเรียนการสอนที่ปรับมาเป็นแบบออนไลน์ 100% ตามนโยบายของทางมหาวิทยาลัย กำหนดมาตรการ นโยบาย ตลอดจนประกาศของสำนักหอสมุดต่าง ๆ…

กว่าจะนำหนังสือพิมพ์รายวันออกให้บริการ

สำนักหอสมุดให้บริการหนังสือพิมพ์ เพื่อให้ผู้ใช้บริการติดตามข่าวสารประจำวัน ประกอบด้วยหนังสือพิมพ์รายวัน และรายสัปดาห์ มีรายการชื่อ ดังนี้ ไทยรัฐ เดลินิวส์ มติชน แนวหน้า ข่าวสด สยามกีฬา ไทยโพสต์ ผู้จัดการ กรุงเทพธุรกิจ บางกอกโพสต์ ส่วนวารสารรายสัปดาห์ ได้แก่ มติชนสุดสัปดาห์ ผู้จัดการรายสัปดาห์ สตาร์ซ็อคเกอร์ เอนเตอร์เทน เทคโนโลยีชาวบ้าน ซึ่งมีการจัดเตรียมตัวเล่มทางเทคนิคก่อนออกให้บริการ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 รับหนังสือพิมพ์จากตัวแทนจำหน่าย คือร้านแสงทอง ขั้นตอนที่…

ตรวจเช็คหนังสือง่าย ๆ อย่างย่อ ๆ ด้วยระบบ NU Buy book

รับหนังสือจากบริษัท ร้านค้า ตรวจเช็คหนังสือเข้าระบบ NU Buy book โดยสแกนบาร์โค้ด ตรวจเช็ค หนังสือเข้าระบบ ให้ตรงกับเอกสาร เช็ค isbn ชื่อหนังสือ และ ราคา แจ้งบริษัท ร้านค้าให้ตรวจสอบความถูกต้องในระบบ http://www.lib.nu.ac.th/c/book2021/home/

ฺBook Request… Interlibrary Loan Service

รอรับได้เลย…ไม่ต้องไปถึงที่ ตัวอยู่พิษณุโลก หนังสืออยู่ไกล้…ไกล ถึงขอนแก่น ทำงัยดีนะ!!! ค่ารถ ค่าน้ำมัน บลาๆๆๆๆ หนังสือที่อยากได้ไม่มีในห้องสมุดเราซะงั้น ต้องทำงัยนะ ไม่ยาก ไม่ยาก… มาหาเราซิค่ะ เราจัดให้ได้เลยค่ะ ได้หมดถ้าผู้ใช้ต้องการ นั่นคือ… บริการยืมระหว่างห้องสมุด เป็นบริการยืมหนังสือต่างมหาวิทยาลัย ทั้งในรูปแบบของตัวเล่ม สำเนา ไฟล์เอกสาร ให้แก่ผู้ใช้ที่ต้องการหนังสือต่างมหาวิทยาลัย (ค่าใช้จ่ายบริการผู้ใช้เป็นผู้รับผิดชอบเองนะคะ) ใครใช้บริการนี้ได้บ้าง นิสิต อาจารย์ เจ้าหน้าที่ ของมหาวิทยาลัยนเรศวร เท่านั้นนะ!!! ติดต่อใครได้ล่ะ…

อยากขอ :ครุภัณฑ์: ต้องทำแบบนี้นะ

(ก่อนอื่นมาเข้าใจความหมายของครุภัณฑ์กันก่อนแบบสายย่อนะ) :ครุภัณฑ์คือ: :สิ่งของที่ได้มา ที่มีสภาพคงทนถาวร เมื่อเกิดการชำรุดเสียหาย สามารถซ่อมแซมแล้วนำกลับมาใช้ได้ดังเดิม : ต้องมีอะไรประกอบบ้างในการขอ 1. มีชื่อรายการ

เงินทดรองจ่ายภายในหน่วยงาน

หมายถึง งบประมาณที่หน่วยงานได้รับตามประกาศของมหาวิทยาลัย โดยสำนัก หอสมุดมีเงินทดรองจ่ายเพื่อหมุนเวียนภายในหน่วยงาน จำนวน 700,000 บาท (เจ็ดแสนบาทถ้วน) สามารถทดรองจ่ายได้ตามรายละเอียด ดังนี้ งบกลาง (ค่ารักษาพยาบาล / ค่าการศึกษาบุตร) ลูกหนี้เงินยืมทดรองจ่าย (เดินทางไปราชการ / โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปี) ค่าตอบแทน (ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ / ค่าตอบแทนนิสิตช่วยปฏิบัติงาน เป็นต้น) วัสดุตามงบประมาณรายจ่ายที่กำหนดในหมวดรายจ่าย เช่น วัสดุสำนักงาน วัสดุไฟฟ้าและวิทยุ วัสดุโฆษณาและเผยแพร่ วัสสุคอมพิวเตอร์ วัสดุงานบ้านงานครัว…