Category: NULib-KM

บันทึกิจกรรม การจัดการความรู้ในหน่วยงานสำนักหอสมุด

ไอเดีย OKR /KPI เริ่มต้นของสำนักหอสมุดเรา

จากกิจกรรม Library Say Hi เมื่อครั้งที่ผ่านมา มีหัวข้อการให้ความรู้เรื่อง “การกำหนด Objective and Key Results (OKR) ของสำนักหอสมุด” โดย ผู้อำนวยการสำนักหอสมุด ในระยะเริ่มแรกเราจะทำ OKR นำร่องจาก KPI หลัก ปรับจากค่านิยมของห้องสมุดเล็กน้อย จากการระดมไอเดียเบื้องต้น ได้แผนผังตามนี้นะคะ หากมีไอเดียใดเพิ่มเติม สามารถเข้าถึงจากลิงก์ด้านล่างนี้ได้เลยค่ะ https://ideamap.ai/join/vryed0hvlbdwl2i

แบบบันทึกองค์ความรู้และรายงานการประชุม

เข้าถึงผ่านลิงก์โดยตรงที่ https://forms.gle/dmhFpN2hb9Z4JaWG9 วิธีการกรอกข้อมูลดูได้จากลิงก์ หากต้องการดูผลลัพธ์หลังจากที่กรอกข้อมูล สามารถเข้าได้ที่ รายงานผลการวิเคราะห์องค์ความรู้และรายงานการประชุมด้วยระบบ Dashboard กำลังโหลด…

กิจกรรม Library Say Hi ครั้งที่ 7

เมื่อวันที่ วันที่ 26 ก.ค. 2565 เวลา 9.00 – 11.00 น. ได้มีการจัดกิจกรรม Library Say Hi ครั้งที่ 7 ออนไลน์ ผ่านระบบ MS Team โดยมีหัวข้อ 1. Kmutt LM Recommend / นำเสนอโดย คุณพรทิพย์ อาจวิชัย ได้เล่าถึงฟังก์ชั่นการทำงานของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ…

Library Say Hi ครั้งที่ 6

Libray Say Hi ครั้งที่ 6 จ้า ในรูปแบบออนไลน์ 31 พ.ค. 2565 เวลา 9.00 น. 1. การจำหน่ายหนังสือ วารสาร / รองอ้อน เล่าถึงขั้นตอนวิธีการจำหน่ายหนังเก่าออก 2. PDPA คืออะไร ควรรู้ก่อนบังคับใช้ 1 มิ.ย.65 / นะรัตน์ คุณนะรัตน์ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับ PDPA Personal…

รู้จักกับโปรแกรม Mendeley : เครื่องมือจัดการบรรณานุกรมอีกหนึ่งทางเลือก

Mendeley เป็น โปรแกรม Free ช่วยจัดการบรรณานุกรม ของสำนักพิมพ์ Elsevier ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งเครื่องมือช่วยเขียนบรรณานุกรมและรายการอ้างอิง และช่วยค้นหาบทความ รวมทั้งเป็นคลังเก็บข้อมูลสำหรับทำวิจัย ทำงานได้ทั้งผ่านโปรแกรมบน Desktop Mendeley Desktop หรือ Mendeley บน Web สำหรับใครที่สนใจเรียนรู้โปรแกรม Mendeley สามารถลองติดตั้งไว้ที่เครื่อง PC หรือโน็ตบุ้คได้ ตามเอกสารประกอบจากกิจกรรม Library Say Hi ได้เลยนะคะ ลิงก์สมัคร account…

การจัดทำโสตทัศนวัสดุจากระบบอนาล็อกให้เป็นระบบดิจิทัล

ปัจจุบันสื่อโสตทัศนวัสดุ ทุกประเภท ไม่เป็นที่นิยมเหมือนสมัยก่อน การจัดหาอุปกรณ์สำหรับเปิดอ่านเริ่มลำบากมากขึ้น และบางแผ่นที่ไม่ได้ใช้งานมานาน เริ่มจะเสื่อมสภาพ เพื่อไม่ให้สื่อโสตทัศนวัสดุที่กำลังจะหมดยุคไปตามกาลเวลา และพร้อมที่จะกลับมาใช้งานได้อีกครั้ง อย่างมีประสิทธิภาพในยุคปัจจุบัน นั้น จึงเป็นที่มาของ ” การเปลี่ยนผ่านจากอนาล็อก เข้าสู่ ดิจิทัล” การเสื่อมสภาพจะใช้เวลายาวนานกว่า ง่ายและสะดวกต่อการนำไปใช้งาน เพราะการจัดเก็บข้อมูลเป็นแบบไฟล์ดิจิทัล เพื่อตอบสนองการใช้ชีวิตในยุคดิจิทัลอย่างต่อเนื่องต่อไป

รู้ไหมว่า คลับเฮ้าส์ มี version บน PC แล้วนะคะ

Clubhouse on PC : เครื่องมือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ยุคใหม่ ใครที่ชอบท่องแอพบนโซเชียล อาจจะเคยได้ยิน หรือเคยเล่นแอพที่ชื่อ คลับเฮ้าส์มาบ้างแล้วนะคะ Clubhouse เป็นโปรแกรมสื่อสังคมออนไลน์ประเภทหนึ่ง ที่ใช้สื่อสารกันทางเสียง คล้ายกับเราฟังวิทยุนั่นแหละค่ะ แต่ว่าเราสามารถแจมเป็นผู้ร่วมสนทนาได้ โดยการเสียบหูฟังที่มีไมค์ แล้วยกมือขอพูด. จริงๆ Clubhouse เขานิยมใช้กันมาพักหนึ่งแล้วนะคะ ในระยะเริ่มแรกจะมีให้ดาวโหลดลงติดตั้งได้เฉพาะอุปกรณ์ของ Apple พวก iPad iPhone ส่วน Android จะเป็นตัวทดลอง ซึ่งก็ใช้งานได้เกือบเหมือนของจริงเลยค่ะ แต่ว่าปัจจุบันนี้ เขามี…

การจัดการสื่อเสียงดิจิทัลด้วย Podcast กรณี ศูนย์เทปธรรมะท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค

เมื่อพูดถึง “สื่อเสียง” : เราก็ต้องนึกถึงการฟังเพลงผ่านรายการวิทยุ AM/FM ซึ่งเมื่อก่อน (ยุค60-90) มีรายการวิทยุจำนวนมากพวกHotwave / Green Wave แต่ด้วยโลกเทคโนโลยีที่หมุนเร็ว (ที่เรียกว่าTechnology Disruption) ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ผสมกับพฤติกรรมของผู้บริโภคก็เปลี่ยนเร็วเช่นกัน 1.สื่อดิจิทัล (ประเภทเสียง) สื่อดิจิทัล หมายถึง สื่อที่มีการนำเอาข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง มาจัดรูปแบบ โดยอาศัยเทคโนโลยี+ด้านคอมพิวเตอร์ สื่อสารทางออนไลน์ หรือ ตัวกลางที่ถูกสร้างขึ้น มาจัดการตามกระบวนการ…