Author: ดร.ศศิธร ติณะมาศ

เก็บมาฝาก จากประชุมวิชาการชมรมบรรณารักษ์ฯ

“4 hearts for library : ใส่ใจ ได้ใจ เข้าใจ และรักษาใจ เพื่อพัฒนากระบวนทัศน์งานห้องสมุด” จากการประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๖๕ ชมรมบรรณารักษ์สถาบันอุดมศึกษา สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ วันจันทร์ที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๕ ณ ห้องประชุมชั้น ๗ สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผ่าน Zoom Meetings คัดมาเฉพาะหัวข้อการบรรยายที่น่าสนใจนะคะ เอกสารประกอบการบรรยายสามารถดาวน์โหลดได้จากลิงก์ การบรรยายหัวข้อแรก น่าสนใจมาก…

สร้างสื่อเรียนรู้รูปแบบ 3 มิติ ด้วย Spatial

Metaverse หรือ จักรวาลนฤมิต เป็นคำที่คุ้นหูมาพักหนึ่ง สำหรับเทคโนโลยีเสมือนในรูปแบบ 3 มิติ จริงๆ มันมีโปรแกรม หรือ Application หลายตัว ที่ช่วยในการสร้าง Collection ในรูปแบบใหม่ที่ดึงดูดใจ แต่ Spatial จะเป็นโปแกรมยอดฮิต ที่นักการศึกษา ครูอาจารย์นำไปใช้มากที่สุด บทความนี้เลยยกตัวอย่างให้เห็นในแบบคลิปวิดีโอ ที่เคลื่อนไหวได้มาให้เห็นบางส่วน พร้อมตัวอย่างที่อาจารย์และนศ มข.ทำไว้ หากใครสนใจ สามารถเอามาใช้ออกแบบสื่อสำหรับแนะนำในรูปแบบใหม่ได้นะคะ มันมีลักษณะคล้ายการนำเสนอแบบ Gallery 3 D…

รู้จักกับโปรแกรม Mendeley : เครื่องมือจัดการบรรณานุกรมอีกหนึ่งทางเลือก

Mendeley เป็น โปรแกรม Free ช่วยจัดการบรรณานุกรม ของสำนักพิมพ์ Elsevier ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งเครื่องมือช่วยเขียนบรรณานุกรมและรายการอ้างอิง และช่วยค้นหาบทความ รวมทั้งเป็นคลังเก็บข้อมูลสำหรับทำวิจัย ทำงานได้ทั้งผ่านโปรแกรมบน Desktop Mendeley Desktop หรือ Mendeley บน Web สำหรับใครที่สนใจเรียนรู้โปรแกรม Mendeley สามารถลองติดตั้งไว้ที่เครื่อง PC หรือโน็ตบุ้คได้ ตามเอกสารประกอบจากกิจกรรม Library Say Hi ได้เลยนะคะ ลิงก์สมัคร account…

เล่นสนุกกับข้อมูลด้วย Google Data Studio

สืบเนื่องจาก การอบรม การสร้าง Data Studio and Big Query กับการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ วันที่ 25 และ 26 เมษายน 2565 ผ่านระบบออนไลน์ด้วย MS Teams วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติพงษ์ สุวรรณราช ซึ่งจัดโดย กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (CITCOMS) Google Data Studio เป็น…

รู้ไหมว่า คลับเฮ้าส์ มี version บน PC แล้วนะคะ

Clubhouse on PC : เครื่องมือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ยุคใหม่ ใครที่ชอบท่องแอพบนโซเชียล อาจจะเคยได้ยิน หรือเคยเล่นแอพที่ชื่อ คลับเฮ้าส์มาบ้างแล้วนะคะ Clubhouse เป็นโปรแกรมสื่อสังคมออนไลน์ประเภทหนึ่ง ที่ใช้สื่อสารกันทางเสียง คล้ายกับเราฟังวิทยุนั่นแหละค่ะ แต่ว่าเราสามารถแจมเป็นผู้ร่วมสนทนาได้ โดยการเสียบหูฟังที่มีไมค์ แล้วยกมือขอพูด. จริงๆ Clubhouse เขานิยมใช้กันมาพักหนึ่งแล้วนะคะ ในระยะเริ่มแรกจะมีให้ดาวโหลดลงติดตั้งได้เฉพาะอุปกรณ์ของ Apple พวก iPad iPhone ส่วน Android จะเป็นตัวทดลอง ซึ่งก็ใช้งานได้เกือบเหมือนของจริงเลยค่ะ แต่ว่าปัจจุบันนี้ เขามี…

สถิติและการนำเสนอข้อมูลแบบขั้นต้น

เอกสารประกอบการอบรม สถิติและการนำเสนอข้อมูลแบบขั้นต้น รุ่นที่ 1 สำหรับท่านที่สนใจเรียนรู้ด้วยตนเองนะคะ อบรมเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2565 เวลา 9.00-12.00 น. ที่ผ่านมา แต่เนื่องจากคลิปวิดีโอสงวนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้ดูย้อนหลังเท่านั้น หากสนใจเข้าอบรมด้วยตนเอง ที่ CITCOMS มีเปิดอบรมรุ่น 2 แล้วนะคะ เอกสารประกอบ ลิงก์ไปที่หลักสูตรอบรม https://training.nu.ac.th/

สุนทรียเสวนา Metaverse จุดเปลี่ยนของห้องสมุดยุคใหม่?

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดโดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อ วันอังคารที่ 1 มีนาคม 2565 เวลา 10.00 – 12.00 น. ผ่านโปรแกรม Zoom วิทยากรโดย นายอิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ Blognone และ Brand Inside Metaverse คือ โลกเสมือน (Virtual World) ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้คนได้เข้ามามีปฏิสัมพันธ์…

New Normal สู่ Next Normal

ห้องสมุดกับการก้าวผ่าน จาก New Normal สู่ Next Normal กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ของหอสมุดแห่งชาติ ที่จัดเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ผ่านทาง Zoom น่าเสียดายทางผู้จัดไม่ได้เผยแพร่คลิปสำเนาไว้ เลยเอามาเล่าเฉพาะเรื่องที่จำได้ และน่าสนใจสำหรับห้องสมุดนะคะ การบรรยายหัวข้อหนึ่งที่น่าสนใจคือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการทำงาน และส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันในยุคชีวิตวิถีใหม่ โดย ดร. ชุติวัฒน์ สุวัตถิพงศ์ อาจารย์จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช ซึ่งเชี่ยวชาญเรื่องเทคโนโลยีด้านการศึกษา ท่านได้บรรยายเรื่องเกี่ยวกับ Metaverse ที่กำลังเป็น Hot issue…

ความรู้เรื่อง Systematic Reviews

“วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 นี้ จะมีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากการบรรยายโดยวิทยากรจากสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2 ท่าน คือ คุณชมพูนุช สราวุเดชา และคุณทิพวรรณ สุขรวย นะคะ” หัวข้อแรกเป็นเรื่อง “ประสบการณ์ในการสนับสนุนการผลิตผลงานวิชาการ และการทบทวนวรรณกรรมโดยใช้กระบวนการของ Systematic reviews “ และหัวข้อที่สองเป็นเรื่อง “ประสบการณ์ในการสนับสนุนการผลิตผลงานวิชาการ และแหล่งข้อมูล Open Access” สำหรับบทความนี้ ขอแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับ Systematic…

การใช้โปรแกรม Excel ในงานวิจัย

บทความนี้ เขียนไว้เป็นตัวช่วยสำหรับคนที่ต้องสรุปรายงานสถิติ หรือรายงานประเมินความพึงพอใจ แต่เบื่อกับโปรแกรม SPSS ของมหาวิทยาลัย ที่ลงแล้วใช้งานได้แค่แบบ Trial อาจใช้โปรแกรม Excel ช่วยคำนวณเล็กๆน้อยๆได้ อ้างอิงมาจากเว็บบล็อกของ ดร. รุจเรขา ลิงก์ตินฉบับอยู่ที่นี่นะคะ https://ruchareka.wordpress.com/2013/06/03/การใช้โปรแกรม-excel-ในงานวิจ/ โปรแกรมที่ใช้ในการวิเคราะหฺสถิติการวิจัย มีมากมายหลายตัว โปรแกรม SPSS นิยมใช้กันมาก แต่ถ้านำไปวิเคราะห์สถิติแล้วนำผลงานไปตีพิมพ์ จำเป็นต้องใช้ซอฟแวร์ที่มีลิขสิทธิ์ ปัจจุบันมีโปรแกรม opensource ตัวหนึ่งที่คล้ายๆกัน และตั้งชื่อเลียนแบบ SPSS โปรแกรมนั้นมีชื่อว่า PSPP…